Infographic
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556
ข้อมูลส่วนตัว
นาย เสกสรรค์ โนรีสุวรรณ
รหัส 554552250 หมู่เรียน 55/99
คณะวิทยาการจัดการ
นิเทศศาสตร์วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์
การออกกำลังกายและบริหารร่างกายสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การออกกำลังกายและบริหารร่างกายสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ช่วยให้คนทำงานได้เร็วและมากขึ้น เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงใช้พลังงานเพียงน้อยนิดแต่ได้ผลงานออกมา มาก การเคลื่อนนิ้วไปมาระหว่างแป้นพิมพ์หรือการใช้เมาส์ การเคลื่อนของศีรษะ ไปมาขณะทำงานใช้พลังงานน้อยมาก แต่ในแง่ของระบบร่างกายนั้น มนุษย์ต้องมีการเคลื่อนไหวไม่ใช่อยู่นิ่งเหมือนขณะใช้คอมพิวเตอร์ ยิ่งถ้ามีความเครียดมาประกอบกับงานที่ทำแล้ว อาการปวดตามส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ต้องอยู่นิ่งเกือบตลอดทั้งวันจะเกิดขึ้นได้อย่างง่ายดาย
อาการปวดที่พบบ่อย
อาการ ที่พบบ่อยในคนทำงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ คืออาการปวดต้นคอ บ่า ศอก ข้อมือ ข้อนิ้วมือ บางคนอาจมีปวดหลังร่วมด้วย สาเหตุที่เกิดขึ้นคือคนทำงานจะพยายามให้ศีรษะอยู่นิ่ง เพื่อช่วยในการมองเห็นจอ แป้นพิมพ์ และต้นฉบับ การทำเช่นนี้แม้จะไม่ใช่งานที่หนักของกล้ามเนื้อบริเวณคอและเอ็นของข้อ กระดูกสันหลัง แต่เป็นการหดตัวของกล้ามเนื้อแบบคงที่ มีผลทำให้เลือดมาเลี้ยงบริเวณกล้ามเนื้อที่คอและบ่าลดลง ส่วนของเอ็นที่อยู่ด้านหลังของคอจะถูกยืดทำให้เลือดมาเลี้ยงบริเวณนั้นน้อย ลง ดังนั้นการก้มคออยู่เป็นเวลานานโดยไม่เปลี่ยนมุมหรือเปลี่ยนน้อยมากย่อมทำ ให้เกิดอาการปวดของกล้ามเนื้อบ่า และด้านหลังคอ บางท่านอาจมีอาการปวดศีรษะ ยิ่งถ้าเครียดอาการเหล่านี้จะมากขึ้น
การป้องกันอาการปวดด้วยการจัดสภาพงานการ ป้องกันไม่ให้เกิดอาการเหล่านี้ทำได้ไม่ยาก ด้วยการจัดสถานที่ทำงานให้เหมาะสม เช่น ความสูงของขอบจอด้านบนควรอยู่ในระดับสายตา การวางต้นฉบับอยู่ตรงหน้าไม่วางอยู่ด้านข้าง เพื่อลดการเอียงหรือก้มคอที่มากเกินไป การพักการทำงานทุก ๑ ชั่วโมง เหล่านี้เป็นการจัดการทางกายศาสตร์ หรือการจัดสภาพแวดล้อมการทำงานให้เหมาะสมกับตัวคนทำงาน เมื่อจัดสภาพงานให้เหมาะสมแล้ว การออกกำลังกายที่นำเสนอนี้จะมีส่วนส่งเสริมป้องกันไม่ให้มีอาการปวดที่ได้ อย่าลืมว่าการออกกำลังกายมีส่วนช่วยแต่เพียงบางส่วน ถ้าคอของท่านยังก้มมากเกินไป เอียงคอตลอดการทำงานและไม่หยุดพักเมื่อปวด ไม่ว่าจะออกกำลังกายอย่างไร ท่านมีโอกาสปวดคอ บ่า ศอก นิ้ว ได้มากกว่าคนทำงานที่จัดสภาพงานที่เหมาะสมกับตัวเอง
การพักและการออกกำลังกายแบบแอโรบิก
ควร พักเมื่อเริ่มรู้สึกปวดหรือเมื่อยบริเวณใดบริเวณหนึ่งของร่างกาย หรือถ้าไม่มีอาการปวดเลยควรพักทุก ๑ ชั่วโมง ขณะพักควรทำการออกกำลัง ในท่าที่นำเสนอมานี้ ไม่จำเป็นต้องทำครบทุกท่าในแต่ละช่วงการพัก เพียงแต่ทำให้ครบทุกท่าใน ๑ วัน บางท่านที่มีอาการปวดเมื่อย คอ บ่า ให้เน้นทำในท่าที่ ๑-๓ ข้อมือและศอก ใช้ท่าที่ ๔ นิ้วมือให้ใช้ท่าที่ ๕-๗ เป็นต้น สำหรับท่านที่มีอาการปวดเมื่อยหลัง ลองเปลี่ยนอิริยาบถด้วยการยืนแอ่นหลัง ๕ วินาที ๒-๓ ครั้ง


คน ทำงานคอมพิวเตอร์นั่งนาน มีกิจกรรมทางกายน้อยมีอัตราเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ ความดันเลือดสูง เบาหวานและมะเร็งสูง ต้องพยายามเพิ่มกิจกรรมทางกายให้มากขึ้นในการทำงาน เช่น เดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟต์ จอดรถห่างที่ทำงานและเดินเร็วไปทำงาน การออกกำลังกายแบบแอโรบิก เช่น การวิ่ง เดิน ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน ที่ทำให้รู้สึกเหนื่อยปานกลาง ถึงหนักอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ๒๐ นาที ๓ ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นสิ่งที่จำเป็นในคนทำงานคอมพิวเตอร์ แต่ถ้าท่านอายุเกิน ๔๐ ปี ไม่เคยออกกำลังแบบแอโรบิกมาก่อน หรือมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันเลือดสูง โรคหัวใจ ควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวของท่าน
อย่าลืมว่า คนทำงานคอมพิวเตอร์ต้องปรับสภาพการทำงานให้เหมาะกับตัว ออกกำลังกาย เมื่อยหรือเครียดนักพักเสียหน่อย เท่านี้ท่านจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปราศจากอาการปวดเมื่อยจากงานคอมพิวเตอร์
ที่มาของข้อมูล http://www.doctor.or.th/article/detail/1334
อาการปวดที่พบบ่อย
อาการ ที่พบบ่อยในคนทำงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ คืออาการปวดต้นคอ บ่า ศอก ข้อมือ ข้อนิ้วมือ บางคนอาจมีปวดหลังร่วมด้วย สาเหตุที่เกิดขึ้นคือคนทำงานจะพยายามให้ศีรษะอยู่นิ่ง เพื่อช่วยในการมองเห็นจอ แป้นพิมพ์ และต้นฉบับ การทำเช่นนี้แม้จะไม่ใช่งานที่หนักของกล้ามเนื้อบริเวณคอและเอ็นของข้อ กระดูกสันหลัง แต่เป็นการหดตัวของกล้ามเนื้อแบบคงที่ มีผลทำให้เลือดมาเลี้ยงบริเวณกล้ามเนื้อที่คอและบ่าลดลง ส่วนของเอ็นที่อยู่ด้านหลังของคอจะถูกยืดทำให้เลือดมาเลี้ยงบริเวณนั้นน้อย ลง ดังนั้นการก้มคออยู่เป็นเวลานานโดยไม่เปลี่ยนมุมหรือเปลี่ยนน้อยมากย่อมทำ ให้เกิดอาการปวดของกล้ามเนื้อบ่า และด้านหลังคอ บางท่านอาจมีอาการปวดศีรษะ ยิ่งถ้าเครียดอาการเหล่านี้จะมากขึ้น
การป้องกันอาการปวดด้วยการจัดสภาพงานการ ป้องกันไม่ให้เกิดอาการเหล่านี้ทำได้ไม่ยาก ด้วยการจัดสถานที่ทำงานให้เหมาะสม เช่น ความสูงของขอบจอด้านบนควรอยู่ในระดับสายตา การวางต้นฉบับอยู่ตรงหน้าไม่วางอยู่ด้านข้าง เพื่อลดการเอียงหรือก้มคอที่มากเกินไป การพักการทำงานทุก ๑ ชั่วโมง เหล่านี้เป็นการจัดการทางกายศาสตร์ หรือการจัดสภาพแวดล้อมการทำงานให้เหมาะสมกับตัวคนทำงาน เมื่อจัดสภาพงานให้เหมาะสมแล้ว การออกกำลังกายที่นำเสนอนี้จะมีส่วนส่งเสริมป้องกันไม่ให้มีอาการปวดที่ได้ อย่าลืมว่าการออกกำลังกายมีส่วนช่วยแต่เพียงบางส่วน ถ้าคอของท่านยังก้มมากเกินไป เอียงคอตลอดการทำงานและไม่หยุดพักเมื่อปวด ไม่ว่าจะออกกำลังกายอย่างไร ท่านมีโอกาสปวดคอ บ่า ศอก นิ้ว ได้มากกว่าคนทำงานที่จัดสภาพงานที่เหมาะสมกับตัวเอง
การพักและการออกกำลังกายแบบแอโรบิก
ควร พักเมื่อเริ่มรู้สึกปวดหรือเมื่อยบริเวณใดบริเวณหนึ่งของร่างกาย หรือถ้าไม่มีอาการปวดเลยควรพักทุก ๑ ชั่วโมง ขณะพักควรทำการออกกำลัง ในท่าที่นำเสนอมานี้ ไม่จำเป็นต้องทำครบทุกท่าในแต่ละช่วงการพัก เพียงแต่ทำให้ครบทุกท่าใน ๑ วัน บางท่านที่มีอาการปวดเมื่อย คอ บ่า ให้เน้นทำในท่าที่ ๑-๓ ข้อมือและศอก ใช้ท่าที่ ๔ นิ้วมือให้ใช้ท่าที่ ๕-๗ เป็นต้น สำหรับท่านที่มีอาการปวดเมื่อยหลัง ลองเปลี่ยนอิริยาบถด้วยการยืนแอ่นหลัง ๕ วินาที ๒-๓ ครั้ง


คน ทำงานคอมพิวเตอร์นั่งนาน มีกิจกรรมทางกายน้อยมีอัตราเสี่ยงต่อโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ ความดันเลือดสูง เบาหวานและมะเร็งสูง ต้องพยายามเพิ่มกิจกรรมทางกายให้มากขึ้นในการทำงาน เช่น เดินขึ้นบันไดแทนการใช้ลิฟต์ จอดรถห่างที่ทำงานและเดินเร็วไปทำงาน การออกกำลังกายแบบแอโรบิก เช่น การวิ่ง เดิน ว่ายน้ำ ขี่จักรยาน ที่ทำให้รู้สึกเหนื่อยปานกลาง ถึงหนักอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ๒๐ นาที ๓ ครั้งต่อสัปดาห์ เป็นสิ่งที่จำเป็นในคนทำงานคอมพิวเตอร์ แต่ถ้าท่านอายุเกิน ๔๐ ปี ไม่เคยออกกำลังแบบแอโรบิกมาก่อน หรือมีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันเลือดสูง โรคหัวใจ ควรปรึกษาแพทย์ประจำตัวของท่าน
อย่าลืมว่า คนทำงานคอมพิวเตอร์ต้องปรับสภาพการทำงานให้เหมาะกับตัว ออกกำลังกาย เมื่อยหรือเครียดนักพักเสียหน่อย เท่านี้ท่านจะมีคุณภาพชีวิตที่ดี ปราศจากอาการปวดเมื่อยจากงานคอมพิวเตอร์
ที่มาของข้อมูล http://www.doctor.or.th/article/detail/1334
อาหารที่มีประโยชน์สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์
อาหารที่มีประโยชน์สำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์
นอกจาก เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์แล้ว ในทางตรงกันข้ามก็มีโทษต่อสุขภาพอย่างร้ายกาจเช่นกัน การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะทำให้ระบบประสาทเสื่อมและเกิดโรคเครียด ภาพและตัวอักษรที่เคลื่อนไหวอยู่หน้าจอนั้น มีโทษต่อสายตา และการใช้เครื่องอาจทำให้ปวดเอวและหัวไหล่ได้อีกด้วย
ถึง แม้ว่าคอมพิวเตอร์จะมีโทษอย่างไร เราก็ต้องใช้มันต่อไป เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ จึงเสนอว่าผู้ที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บ่อยๆ ควรใส่ใจกับการกินอาหารที่บำรุงสุขภาพให้แข็งแรง และป้องกันโรคต่างๆ ได้เช่น
+ อาหารกลางวัน ควรเลือกอาหารที่อุดมไปด้วยโปรตีน เช่น เนื้อ นม ไข่ ปลา และถั่ว
+ อาหารเย็น ควรเป็นอาหารเบา และรสจืด ซึ่งกินผักเหมาะที่สุด
นอกจากนี้ ยังควรกินอาหารบำรุงสมองและประสาทตา ได้แก่ ปลา กุ้ง ไข่ จมูกข้าวสาลี ถั่วลิสง
ส่วนอาหารที่บำรุงประสาทตา ได้แก่ ผักบุ้ง ฟักทอง ตับ ไข่ นม ผัก มะเขือเทศ นอกจากการรับประทานอาหารบำรุงร่างกายแล้ว
สิ่งที่เราควรทำอีกอย่างหนึ่งคือ ... หลีกเลี่ยงการใช้คอมพิวเตอร์นานๆ และควรดื่มน้ำมากๆ เมื่อเป็นสาวไอทีเต็มรูปแบบก็ควรดูแลตัวเองด้วยนะ

ถึง แม้ว่าคอมพิวเตอร์จะมีโทษอย่างไร เราก็ต้องใช้มันต่อไป เมื่อเป็นเช่นนี้ ผู้เชี่ยวชาญด้านโภชนาการ จึงเสนอว่าผู้ที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บ่อยๆ ควรใส่ใจกับการกินอาหารที่บำรุงสุขภาพให้แข็งแรง และป้องกันโรคต่างๆ ได้เช่น
+ อาหารกลางวัน ควรเลือกอาหารที่อุดมไปด้วยโปรตีน เช่น เนื้อ นม ไข่ ปลา และถั่ว
+ อาหารเย็น ควรเป็นอาหารเบา และรสจืด ซึ่งกินผักเหมาะที่สุด
นอกจากนี้ ยังควรกินอาหารบำรุงสมองและประสาทตา ได้แก่ ปลา กุ้ง ไข่ จมูกข้าวสาลี ถั่วลิสง
ส่วนอาหารที่บำรุงประสาทตา ได้แก่ ผักบุ้ง ฟักทอง ตับ ไข่ นม ผัก มะเขือเทศ นอกจากการรับประทานอาหารบำรุงร่างกายแล้ว
สิ่งที่เราควรทำอีกอย่างหนึ่งคือ ... หลีกเลี่ยงการใช้คอมพิวเตอร์นานๆ และควรดื่มน้ำมากๆ เมื่อเป็นสาวไอทีเต็มรูปแบบก็ควรดูแลตัวเองด้วยนะ


ที่มาของภาพ http://www.student.chula.ac.th/~53373133/eyesfood.html
ที่มาของข้อมูล http://learning.eduzones.com/offy/4934
การดูแลสุขภาพดวงตา กับการทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์
การดูแลสุขภาพดวงตา กับการทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์
5 เทคนิคดูแลสุขภาพดวงตากับคอมพิวเตอร์
ชีวิตที่รีบเร่งอาจทำให้เพื่อนๆ ต้องทำงานต่อเนื่องให้เสร็จเร็วๆการทำงานหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานนน ต้องใช้สายตามาก
ไม่ใช่แค่ทำงานนะคะ เล่นเกมส์หน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือหน้าจอทีวีก็เช่นกัน …
กิจกรรมดังที่บอกมาแล้ว ส่งผลเสียต่อสุขภาพของดวงตาค่ะ
หากหลีกเลี่ยงการจ้องมองหน้าจอนานๆ ไม่ได้ วิธีป้องกันก็พอมี
ง่ายๆ แค่ 5 เทคนิคเพื่อดูแลสุขภาพดวงตาของเพื่อนๆ ดังนี้ค่ะ
ข้อ 1. ทุก 1 ชั่วโมงของการทำงานหน้าจอ ควรพักสายตาด้วยการทำอะไรก็ได้
ที่..ไม่ต้องมองใกล้ๆ ในระยะ 1-2 ฟุต (เช่น มองออกไปในสนามหญ้า) พยามยามมองสีเขียวของใบไม้ใบหญ้า
ประมาณ 5-10 นาที จะลดการเพ่งของสายตา และช่วยคลายอาการปวดเมื่อยล้าดวงตาได้
ข้อ 2. ไม่ควรมีแสงสว่างมากที่ด้านหลังจอ เพราะจะรบกวนการมองจอ
เช่นไม่ควรตั้งจอตรงกับหน้าต่าง (ด้วยเหตุนี้เน็ตบุคสีขาวของบางยี่ห้อจึงมีกรอบจอสีดำ)
ข้อ 3. ศีรษะควรอยู่สูงกว่าจอสักเล็กน้อย จะได้ไม่ต้องเงยหน้ามองคอมพิวเตอร์
หรือเหลือกตามองสูงขึ้นโดยไม่รู้ตัว ซึ่งทำให้เมื่อยล้าได้ง่าย และเพื่อนๆ คงไม่อยาก
ให้ใครมองมาเห็นว่านั่งตาเหลือกอยู่หน้าจอนะคะ มันดูไม่เท่หรอกค่ะ
ข้อ 4. อาการปวดล้าดวงตา อาจเกิดจากการที่เพื่อนๆ มีปัญหาสายตา
เช่น สายตาเอียง สายตาสั้น และสายตายาว ให้ไปตรวจวัดสายตาดู
หากพบว่าสายตาผิดปกติ ให้ตัดแว่นมาใส่จะช่วยแก้ปัญหาได้
ข้อ 5. ถ้ามีอาการตาแห้ง เช่น แสบตา หรือเคืองตา ให้กะพริบบ่อยขึ้น
เพื่อกวาดน้ำตามาเคลือบผิวตา หรือพักการใช้คอมพิวเตอร์เป็นระยะ
ถ้ายังมีอาการมาก ใช้น้ำตาเทียมหยอดตาจะช่วยบรรเทาอาการได้
แต่ถ้าไม่ดีขึ้น เพื่อนๆ อาจจะเป็นโรคอื่นให้ไปพบจักษุแพทย์
เพื่อทำการตรวจรักษาแต่เนิ่น ๆ นะคะ
ดวงตาของพวกเรามีคู่เดียวงอกใหม่ไม่ได้ พึงรักษาไว้ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานกับตัวเราไปนานๆ นะคะ
ด้วยความปรารถนาดี เคยได้ยินเพลงตอนเด็ก “หูไม่หนวก ตาไม่บอด นับว่ายอด ของคนเรา”

ที่มาของภาพ http://www.tipsiam.com/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84-%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B9%81%E0%B8%A5-%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%82%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E-%E0%B8%95%E0%B8%B2
ที่มาของข้อมูล : www.doctor.or.thภัยเทคโนโลยีต่อสุขภาพ
ภัยเทคโนโลยีต่อสุขภาพ
ผลกระทบต่อร่างกายโดยตรง
ดวงตา ดวง ตา กล้ามเนื้อและระบบประสาท ทำให้เกิดอาการเมื่อยตา สายตาเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อและปวดศีรษะ คลื่นไส้ เป็นต้น โดยอาการที่พบบ่อยที่สุดของ โรคนี้คือ ปวดตา เมื่อยตา ตาแห้ง ถ้าอาการเป็นมากยังอาจก่อให้เกิดปัญหาสายตาเสื่อมลงด้วย เนื่องจากขณะใช้คอมพิวเตอร์ดวงตาต้องจ้องมองหน้าจอที่มีตัวหนังสือหรือ ภาพกระพริบตลอดเวลา ทำให้กลไกตามธรรมชาติของการกระพริบตาลดน้อยลงจนเราไม่สังเกต เป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ตาแห้ง และหากดวงตาอยู่ในสภาพที่เหน็ดเหนื่อยหรือตาแห้ง ก็จะทำให้สายตาเสื่อมลง ทาง American Optometric Association (AOA) มีการให้คำจำกัดความของโรคหรือภัยที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะผลที่เกิดกับดวงตาและการมองเห็นว่า คือโรค Computer Vision Syndrome หรือ CVS โดยมีอาการคือ ปวดเบ้าตา, ปวดต้นคอ, มีอาการอ่อนล้าทางประสาทตา, มีภาวะตาแห้ง, รอยตาคล้ำบริเวณตา หรือมีรอยบวมเห็นเป็นถุงใต้ตาโปนออกมา สาเหตุหลักนอกจากการใช้สายตาเพ่งหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ แล้ว ยังสามารถเกิดได้จากการได้รับรังสีอัลตร้าไวโอเลตทั้งจากรังสี UV ที่ออกมาจากจอคอมพิวเตอร์ หรือจากแสงแดดก็ได้
ระบบประสาท จากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของคอมพิวเตอร์ แม้ว่ารังสีชนิดต่างๆจากหน้าจอคอมพิวเตอร์จะมีความปลอดภัยก็ตาม แต่การรับการแผ่รังสีเป็นเวลานานก็อาจจะส่งผลกระทบถึงระบบประสาทของมนุษย์ ได้เช่นกัน จะทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อึดอัด และนอนไม่หลับ เป็นต้น
เสี่ยงต่อการเป็นหมัน ในวารสาร “Human Reproduction” มีรายงานที่เขียนโดย ดร.เยซิม เซย์คิน หัวหน้าทีมวิจัยของมหาวิทยาลัยประจำนครนิวยอร์ก รายงานไว้ว่า คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปหรือโน๊ตบุ๊ค ที่หลายคนชอบวางทำงานไว้บนหน้าตักนั้น จะทำให้อุณหภูมิที่ลูกอัณฑะสูงขึ้นซึ่งมีผลต่อการสร้างสเปิร์มของผู้ชายทุก คนและทุกวัย ปกติแล้วลูกอัณฑะที่ใช้ผลิตเสปิร์มของผู้ชายนั้นเป็นอวัยวะที่ไวต่ออุณภูมิ เป็นอย่างมาก โดยอุณภูมิที่เพิ่มขึ้นเพียง 1 องศาเซลเซียสก็จะลดจำนวนเสปิร์มที่แข็งแรงลงไปถึงร้อยละ 40 การวางโน๊ตบุ๊คบนตักหนึ่งชั่วโมงทำให้อุณภูมิลูกอัณฑะเพิ่มขึ้นประมาณ 2.6 ถึง 2.8 องศาเซลเซียส
โรคที่เกิดจากท่านั่งหรือการทำงานซ้ำซาก
โรค Cumulative Trauma Disorders (ความผิดปกติจากอุบัติภัยสะสม) อาการของโรคจะค่อยเป็นค่อยไป จะมีอาการปวดคอ ไหล่ ข้อมือ และหลัง ผู้ที่เป็นมาก ๆ อาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น อาการชาที่มือ อาการของโรคพวกนี้แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
o ระยะแรกเป็นแล้วหายเมื่อได้พัก
o ระยะสองคือ มีอาการต่อเนื่องถึงกลางคืน และหายเมื่อได้พัก
o ระยะสามคือ เป็นตลอดเวลาไม่หายเมื่อได้พัก
การรักษาคือ ต้องปรับพฤติกรรมการทำงานของตนเองหรือถ้าเป็นมากควรปรึกษาแพทย์ และควรเล่าประวัติการทำงานเพื่อให้แพทย์ทราบสาเหตุที่แท้จริง แพทย์จึงจะรักษาเฉพาะที่ได้
อาการ Repetitive Strain Injury หรือ RSI ซึ่งสามารถเป็นได้กับทุกส่วนของร่างกายจากการนั่งทำงานหน้าเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบไม่ถูกสุขลักษณะตั้งแต่แขน ข้อมือ ข้อนิ้ว แผ่นหลัง ต้นคอ หัวไหล่ และสายตา เนื่องจากอวัยวะส่วนที่มีปัญหาถูกวางค้าง ถูกทิ้งน้ำหนัก หรือกดทับนานๆ จนอักเสบ หากปล่อยไว้นานๆ อาจต้องผ่าตัดเอ็น
การรักษา หากเริ่มมีอาการอาจต้องรับประทานยาแก้ปวดและหยุดการเคลื่อนไหวโดยการพักข้อ มือ อาการก็อาจทุเลาลงได้ อาการปวดจะหายไปในที่สุด หากปวดบวม ให้รับประทานยาระงับปวดและอาจต้องสวมอุปกรณ์ประคองมือ เพื่อลดการเคลื่อนไหวของข้อมือ หรือฉีดยากลุ่มสเตียรอยด์เข้าบริเวณข้อมือ เพื่อลดการอักเสบโดยตรง ส่วนในรายที่เป็นมานานอาจจำเป็นต้องผ่าตัดจึงจะได้ผลดี โรคที่เกิดจากเชื้อโรคที่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์
โรคภูมิแพ้ นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยสตอก โฮล์ม ในสวีเดนพบว่า สารเคมีจากจอคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้ สารนี้มีชื่อว่า Triphenyl Phosphate ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในจอวิดีโอและคอมพิวเตอร์ สามารถก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ เช่น คัน คัดจมูก และปวดศีรษะ ผลวิจัยพบว่า เมื่อจอคอมพิวเตอร์ร้อนขึ้นจะปล่อยสารเคมีดังกล่าวออกมา โดยเฉพาะหากสภาพภายในห้องทำงานที่มีเนื้อที่จำกัด เครื่องคอมพิวเตอร์อาจจะเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้ ดังนั้น อากาศที่ดีจึงจำเป็นอย่างยิ่ง
โรคที่เกิดจากการใช้งาน โรคทนรอไม่ได้ (Hurry Sickness) มักจะเกิดกับผู้ที่เล่นอินเทอร์เน็ต ที่ทำให้กลายเป็นคนขี้เบื่อ หงุดหงิดง่าย ใจร้อน เครียดง่าย เช่น ทนรอเครื่องดาวน์โหลดนาน ๆ ไม่ได้ กระวนกระวาย หากมีอาการมาก ๆ ก็จะเข้าข่ายโรคประสาทได้ จึงควรปรับเปลี่ยนลักษณะงานและพยายามควบคุมอารมณ์ตนเอง
เมื่อทราบดังนี้แล้วสำหรับผู้ที่ต้องอยู่หน้าคอมพิวเตอร์นานๆ ไม่ว่าจะด้วยความจำเป็นแค่ไหนก็แล้วแต่ คงต้องสอดแทรกการบริหารร่างกายเข้าไปด้วย บิดซ้ายนิด ขวาหน่อย ยืดเส้นยืดสาย จะได้ยืดอายุสุขภาพดีของเราต่อไป
ที่มาของข้อมูล http://www.thaiitwatch.org/autopagev4/show_page.php?topic_id=1404&auto_id=11&TopicPk
ดวงตา ดวง ตา กล้ามเนื้อและระบบประสาท ทำให้เกิดอาการเมื่อยตา สายตาเสื่อม ปวดกล้ามเนื้อและปวดศีรษะ คลื่นไส้ เป็นต้น โดยอาการที่พบบ่อยที่สุดของ โรคนี้คือ ปวดตา เมื่อยตา ตาแห้ง ถ้าอาการเป็นมากยังอาจก่อให้เกิดปัญหาสายตาเสื่อมลงด้วย เนื่องจากขณะใช้คอมพิวเตอร์ดวงตาต้องจ้องมองหน้าจอที่มีตัวหนังสือหรือ ภาพกระพริบตลอดเวลา ทำให้กลไกตามธรรมชาติของการกระพริบตาลดน้อยลงจนเราไม่สังเกต เป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ตาแห้ง และหากดวงตาอยู่ในสภาพที่เหน็ดเหนื่อยหรือตาแห้ง ก็จะทำให้สายตาเสื่อมลง ทาง American Optometric Association (AOA) มีการให้คำจำกัดความของโรคหรือภัยที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะผลที่เกิดกับดวงตาและการมองเห็นว่า คือโรค Computer Vision Syndrome หรือ CVS โดยมีอาการคือ ปวดเบ้าตา, ปวดต้นคอ, มีอาการอ่อนล้าทางประสาทตา, มีภาวะตาแห้ง, รอยตาคล้ำบริเวณตา หรือมีรอยบวมเห็นเป็นถุงใต้ตาโปนออกมา สาเหตุหลักนอกจากการใช้สายตาเพ่งหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ แล้ว ยังสามารถเกิดได้จากการได้รับรังสีอัลตร้าไวโอเลตทั้งจากรังสี UV ที่ออกมาจากจอคอมพิวเตอร์ หรือจากแสงแดดก็ได้

เสี่ยงต่อการเป็นหมัน ในวารสาร “Human Reproduction” มีรายงานที่เขียนโดย ดร.เยซิม เซย์คิน หัวหน้าทีมวิจัยของมหาวิทยาลัยประจำนครนิวยอร์ก รายงานไว้ว่า คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปหรือโน๊ตบุ๊ค ที่หลายคนชอบวางทำงานไว้บนหน้าตักนั้น จะทำให้อุณหภูมิที่ลูกอัณฑะสูงขึ้นซึ่งมีผลต่อการสร้างสเปิร์มของผู้ชายทุก คนและทุกวัย ปกติแล้วลูกอัณฑะที่ใช้ผลิตเสปิร์มของผู้ชายนั้นเป็นอวัยวะที่ไวต่ออุณภูมิ เป็นอย่างมาก โดยอุณภูมิที่เพิ่มขึ้นเพียง 1 องศาเซลเซียสก็จะลดจำนวนเสปิร์มที่แข็งแรงลงไปถึงร้อยละ 40 การวางโน๊ตบุ๊คบนตักหนึ่งชั่วโมงทำให้อุณภูมิลูกอัณฑะเพิ่มขึ้นประมาณ 2.6 ถึง 2.8 องศาเซลเซียส
โรคที่เกิดจากท่านั่งหรือการทำงานซ้ำซาก
โรค Cumulative Trauma Disorders (ความผิดปกติจากอุบัติภัยสะสม) อาการของโรคจะค่อยเป็นค่อยไป จะมีอาการปวดคอ ไหล่ ข้อมือ และหลัง ผู้ที่เป็นมาก ๆ อาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น อาการชาที่มือ อาการของโรคพวกนี้แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ
o ระยะแรกเป็นแล้วหายเมื่อได้พัก
o ระยะสองคือ มีอาการต่อเนื่องถึงกลางคืน และหายเมื่อได้พัก
o ระยะสามคือ เป็นตลอดเวลาไม่หายเมื่อได้พัก
การรักษาคือ ต้องปรับพฤติกรรมการทำงานของตนเองหรือถ้าเป็นมากควรปรึกษาแพทย์ และควรเล่าประวัติการทำงานเพื่อให้แพทย์ทราบสาเหตุที่แท้จริง แพทย์จึงจะรักษาเฉพาะที่ได้
อาการ Repetitive Strain Injury หรือ RSI ซึ่งสามารถเป็นได้กับทุกส่วนของร่างกายจากการนั่งทำงานหน้าเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบไม่ถูกสุขลักษณะตั้งแต่แขน ข้อมือ ข้อนิ้ว แผ่นหลัง ต้นคอ หัวไหล่ และสายตา เนื่องจากอวัยวะส่วนที่มีปัญหาถูกวางค้าง ถูกทิ้งน้ำหนัก หรือกดทับนานๆ จนอักเสบ หากปล่อยไว้นานๆ อาจต้องผ่าตัดเอ็น
กลุ่มอาการปวดข้อ(Carpal Tunnel Syndrome: CTS) เป็นกลุ่มอาการของผู้ที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานๆ ทำให้เกิดอาการของโรคกระดูกข้อมือเจ็บปวด ข้อกระดูกนิ้วมือเสื่อม และชา สาเหตุ เกิดจากการกดแป้นพิมพ์ และการใช้เมาส์ต่อเนื่องเป็นเวลานาน การจับเมาส์โดยมีข้อมือเป็นจุดหมุน อาจเกิดพังผืดบริเวณข้อมือ หากปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานานจะทำให้เกิดอาการชา จนไม่สามารถหยิบของได้ | ![]() |
โรคภูมิแพ้ นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยสตอก โฮล์ม ในสวีเดนพบว่า สารเคมีจากจอคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้ สารนี้มีชื่อว่า Triphenyl Phosphate ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย ทั้งในจอวิดีโอและคอมพิวเตอร์ สามารถก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ เช่น คัน คัดจมูก และปวดศีรษะ ผลวิจัยพบว่า เมื่อจอคอมพิวเตอร์ร้อนขึ้นจะปล่อยสารเคมีดังกล่าวออกมา โดยเฉพาะหากสภาพภายในห้องทำงานที่มีเนื้อที่จำกัด เครื่องคอมพิวเตอร์อาจจะเป็นสาเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคภูมิแพ้ได้ ดังนั้น อากาศที่ดีจึงจำเป็นอย่างยิ่ง
Qwerty Tummy (โรคที่ตั้งชื่อตามตัวอักษรชุดแรกบนแป้นคีย์บอร์ด) ซึ่งอาจระบาดในที่ทำงานได้ หากว่าแป้นคีย์บอร์ดมีแบคทีเรีย สาเหตุเกิดจากอาหารเป็นพิษ โดยผู้ใช้รับ-ประทานอาหารไปพร้อมกับใช้งานย์บอร์ด ดังนั้นจึงควรทำความสะอาดคีย์บอร์ดเป็นประจำไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของเชื้อ แบคทีเรีย ด้วยผ้าเนื้อนุ่มชุบน้ำหมาดๆ อย่างน้อยเดือนละครั้งเสมอ | ![]() |
โรคที่เกิดจากการใช้งาน โรคทนรอไม่ได้ (Hurry Sickness) มักจะเกิดกับผู้ที่เล่นอินเทอร์เน็ต ที่ทำให้กลายเป็นคนขี้เบื่อ หงุดหงิดง่าย ใจร้อน เครียดง่าย เช่น ทนรอเครื่องดาวน์โหลดนาน ๆ ไม่ได้ กระวนกระวาย หากมีอาการมาก ๆ ก็จะเข้าข่ายโรคประสาทได้ จึงควรปรับเปลี่ยนลักษณะงานและพยายามควบคุมอารมณ์ตนเอง

ที่มาของข้อมูล http://www.thaiitwatch.org/autopagev4/show_page.php?topic_id=1404&auto_id=11&TopicPk
ใช้คอมพิวเตอร์อย่างไรจึงจะปลอดภัย
ใช้คอมพิวเตอร์อย่างไรจึงจะปลอดภัย
การใช้คอมพิวเตอร์อย่างไร จึงจะปลอดภัย ?
ปัญหาทางสายตา ใครที่นั่งจ้องจอคอมฯ นานกว่า 3 ช.ม. ติดต่อกัน จะทำให้กล้ามเนื้อตาอ่อนล้า สายตาจะพร่า อาจปวดกระบอกตา แสบตา ตาแดง น้ำตาไหล วิธีแก้ปัญหา
- ควรตั้งจอคอมพิวเตอร์ให้ห่างอย่างน้อย 2 ฟุต ในระดับสายตาตรงหน้าพอดี
- เลือกจอภาพที่มีการกระจายรังสีต่ำ รู้ได้โดยเวลาดับเครื่องไฟฟ้าสถิตจะมีน้อย ถ้ามีมากเอามือไปอังใกล้ ๆ หน้าจอขนจะลุก
- ปรับแสงให้พอรู้สึกสบายตา อาจใช้แผ่นกรองแสงสวมหน้าจอจะช่วยได้ ไฟแสงสว่างด้านหลังอาจทำให้เกิดภาพสะท้อนที่จอทำให้สายตาเสียได้
- ทำความสะอาดจอภาพของคอมพิวเตอร์เสมอ
- ควรพักสายตาบ้าง ไม่ควรทำคอมพิวเตอร์ติดต่อกันนานเกิน 1-2 ช.ม. ควรพักสายตาสัก 15 นาที หรืออาจใช้ผ้าชุบน้ำเย็นหมาด ๆ ปิดตาไว้ 2-3 นาที จะช่วยได้มาก
- พวกใช้คอนแทคเลนส์ ควรหยอดน้ำตาเทียมบ่อยๆ
ปัญหาปวดคอ ปวดบ่า ปวดไหล่ แก้ไขโดย
- ตั้งจอตรงหน้าพอดีไม่สูง ไม่ต่ำ ไม่เอียงซ้าย หรือขวา
- คีย์บอร์ดและเม้าส์ควรอยู่ระดับเอวหรือระดับหน้าตักพอดี เพราะถ้าอยู่สูงกว่านี้เวลาใช้คีย์บอร์ดและเม้าส์นานๆ ไหล่จะค่อย ๆ ยกสูงขึ้นโดยอัตโนมัติ เพื่อให้แขนและมือจะได้ทำงานถนัด แต่การยกไหล่ขึ้นนานๆ กล้ามเนื้อที่ยกไหล่จะล้า ปวดเมื่อยได้ ปวดตั้งแต่ไหล่ บ่า ถึงคอ
- ต้องพักการทำคอมพิวเตอร์ ทุก 1-2 ช.ม.
ปัญหาปวดหลัง แก้ไขโดย
- ขณะนั่งทำคอมพิวเตอร์ควรนั่งเก้าอี้ที่สูงพอดี เท้าวางบนพื้นได้เต็มเท้า ถ้าสูงเกินไปจนเท้าลอย หรือถ้าต่ำเกินไป ก้นจะจ่อมอยู่บนที่นั่ง ทำให้เมื่อยบริเวณก้นได้
- เวลานั่งต้องเลื่อนตัวให้นั่งชิดพนักพิง ไม่ใช่นั่งอยู่แค่ครึ่งที่นั่งของเก้าอี้
- หลังจะต้องพิงพนักเก้าอี้อยู่ตลอดเวลา โดยพนักพิงทำมุมกับที่นั่ง ไม่เกิน 100 องศา
- ต้องพักการทำคอมพิวเตอร์ ทุก 1-2 ช.ม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)